วันอังคารที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555

วันเด็กแห่งชาติ 2555

คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ 
 "สามัคคี มีความรู้ คู่ปัญญา คงรักษาความเป็นไทย ใส่ใจเทคโนโลยี"
 ประวัติ ความเป็นมาของ "วันเด็ก"
1จากคำกล่าวที่ว่า... อนาคตของประเทศชาติจะเป็นอย่างไรต่อไป ส่วนหนึ่งต้องขึ้นอยู่กับคุณภาพชีวิตของเด็กในประเทศนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไร ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องให้ การพิทักษ์รักษาคุ้มครองทางด้านกฎหมาย ตลอดจนให้ความสำคัญแก่เด็ก ๆ เพราะถือว่า เด็ก คือมนุษย์ที่ยังอ่อนอยู่ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมาย ของคำว่า "เด็ก" ไว้ดังนี้
เด็ก หมายถึง คนที่มีอายุยังน้อย ยังเล็ก
เด็กชาย คือ คำนำเรียกเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
เด็กหญิง คือ คำนำเรียกเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
 
ความเป็นมาของ "วันเด็กสากล"
1เมื่อปีพุทธศักราช 2498 ได้เกิดปฏิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กขึ้น โดยองค์การสหประชาชาติทำให้ทั่วโลกเกิดความตื่นตัว และเห็นพ้องต้องกันว่า ควรจะให้ความสำคัญแก่เด็ก ๆ ของตนมากขึ้น การขานรับในการนี้จากประเทศต่าง ๆ เป็นไปอย่างกว้างขวาง ในปีเดียวกันนั้นเอง ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกไม่น้อยกว่า 40 ประเทศต่างก็จัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติของประเทศตนขึ้น โดยกำหนดวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคมของทุกปี เป็นวันเด็กแห่งชาติ
การจัดงานเฉลิมฉลองวันเด็กแห่งชาติในแต่ละประเทศขณะนั้น มีรูปแบบที่คล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ โดยยึดหลักการให้ความสำคัญแก่เด็กเป็นวัตถุประสงค์หลัก โดยเปิดสถานที่ราชการที่สำคัญเช่น พิพิธภัณฑ์ รัฐสภา เป็นต้น ให้เด็ก ๆได้เข้าชมและศึกษา บางแห่งจัดการแสดงมหรสพ มีการแจกอาหาร แข่งขันเกม แจกของขวัญ ฯลฯ ต่อมางานนี้ได้รับความสำคัญทั่วโลกจึงได้จัดกันแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน

1การจัดงานวันเด็กในประเทศไทย
ปีพุทธศักราช 2498 อันเป็นปีที่ทั่วโลกเริ่มจัดงานเฉลิมฉลองวันเด็กแห่งชาติกันขึ้น ตามความเห็นคล้อยตามกับองค์การสหประชาชาติที่นำปัญหาเรื่องเด็กมาร่างเป็นปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของเด็กขึ้นมา
ประเทศไทยได้รับข้อเสนอของนาย วี เอ็ม กุลกานี ผู้แทนองค์กรสมาพันธ์เพื่อสวัสดิภาพเด็กระหว่างประเทศ ผ่านมาทางกรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทยว่า ประเทศไทยควรจัดงานเฉลิมฉลองวันเด็กแห่งชาติขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของเด็กให้มากขึ้น ดังที่นานาประเทศกำลังทำอยู่
ขณะนั้น สภาวัฒนธรรมแห่งชาติยังมิได้ถูกยุบเลิกไป คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ จึงนำเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมเพื่อพิจารณา ในที่สุดที่ประชุมได้เห็นชอบนำเรื่องเสนอต่อคณะรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมาเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ..2498 ได้มีมติคณะรัฐมนตรีรับหลักการ ให้จัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้น โดยมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงศึกษาธิการรับไปดำเนินการ ส่วนของค่าใช้จ่ายในการจัดงานั้น ได้อนุมัติเงินจากกองสลากกินแบ่งรัฐบาลมาดำเนินการ
1ดังนั้น ในวันที่ 3 ตุลาคม พ..2498 ประเทศไทย จึงมีงานเฉลิมฉลองวันเด็กแห่งชาติเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก จากนั้นเป็นต้นมา ทางราชการได้กำหนดวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคมของทุกปีเป็นวันเด็กแห่งชาติสำหรับประเทศไทย และจัดติดต่อกันมาจนถึงปี พ..2506 ที่ประชุมคณะกรรมการจัดงานวันเด็กแห่งชาติในปีนั้น มีความเห็นพ้องต้องกันว่า สมควรที่จะเสนอเปลี่ยนวันจัดงานวันเด็กแห่งชาติเสียใหม่ เพื่อความเหมาะสมด้วยเหตุผลว่า ในเดือนตุลาคมสำหรับประเทศไทยเราเป็นเดือนที่ยังอยู่ในฤดูฝน มีฝนตกมาก เด็ก ๆ ไม่สะดวกในการมาร่วมงาน ประการต่อไปก็คือ วันจันทร์เป็นวันปฏิบัติงานของผู้ปกครอง จึงไม่สามารถพาเด็กของตนไปร่วมงานได้ ตลอดจนการจราจรก็ติดขัด จึงเห็นว่าควรจะเปลี่ยนไปเป็นวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมเสียทุกสิ่งทุกอย่างได้สะดวกสบายขึ้น และมีความเหมาะสมมากกว่า
จากข้อเสนอดังกล่าว คณะรัฐมนตรีในขณะนั้นมีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการจัดงานวัดเด็กแห่งชาติเสนอ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2507 จึงประกาศเปลี่ยนงานฉลองวันเด็กแห่งชาติจากวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม มาเป็นวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นมา ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลให้ปี พ..2507 ไม่มีงานวันเด็กแห่งชาติด้วยการประกาศเปลี่ยนได้เลยวันมาแล้ว
งานวันเด็กแห่งชาติได้เริ่มจัดขึ้นมาใหม่อีกครั้งในปี พ..2508 และจัดเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน นับเป็นเวลาได้ 38 ปีแล้ว (งดจัดในปี พ..2507 หนึ่งปี) 
 
วัตถุประสงค์ของการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ
1. เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของเด็ก สนใจในการเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนเด็ก และช่วยเหลือสงเคราะห์เด็กเป็นพิเศษ
2. เพื่อให้เด็กและและเยาวชนยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
3. เพื่อให้เด็กรู้จักหน้าที่ของตน และอยู่ในระเบียบวินัยอันดี
4. เพื่อเผยแพร่ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิของเด็ก

ความสำคัญของวันเด็กแห่งชาติ


วันเสาร์ที่ 10 มกราคม 2552 นี้เป็นวันเด็กแห่งชาติครั้งที่ 52 ของประเทศไทย รัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นรัฐบาลที่ริเริ่มให้มีการจัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรกในวัน จันทร์แรกของเดือนตุลาคมปี 2498 ตามการเชิญชวนของ มร.วี.เอ็ม.กุลกานี ผู้แทนองค์การสหพันธ์เพื่อสวัสดิภาพเด็กระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ ชาวอินเดีย

เป้าหมายของการจัดงานวันเด็กของชาตินั้น เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญและความต้องการของเด็ก และเพื่อกระตุ้นให้เด็กตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญของตนในประเทศโดยปลูกฝังให้ เด็กมีส่วนร่วมในสังคม เตรียมพร้อมให้ตนเองเป็นกำลังของชาติ รัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้น ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจและเอกชนกำหนดให้มีการฉลองวันเด็กแห่งชาติทั้งในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค

วัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กทั่วประเทศทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน ได้รู้ถึงความสำคัญของตน เกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย ที่มีต่อตนเองและสังคม มีความยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

ประเทศไทยนั้นมีประชากรที่เป็นเด็กที่มีอายุไม่เกิน 14 ปี เป็นจำนวนประมาณร้อยละ 24 หรือ 15.36 ล้านคนจากจำนวนประชากร 64 ล้านคน ทั่วโลกถือว่าเด็กเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การจัดงานวันเด็กจึงถือเป็นวันสำคัญของแต่ละชาติตามแต่ความเหมาะสม นอกจากจัดงานแล้วนายกรัฐมนตรีแต่ละท่าน ตั้งแต่จอมพลแปลก พิบูลสงคราม จนถึงนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีคำขวัญมอบให้เด็กเนื่องในโอกาสงานวันเด็กแห่งชาติทุกปี

คำขวัญวันเด็กแต่ละปีนั้นเป็นคติเตือนใจที่ให้ข้อคิดแก่เด็ก คำขวัญแรกในวันที่ 3 ตุลาคม 2499 เป็นของจอมพลแปลกมีข้อความว่า จงบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและส่วนรวม ส่วนคำขวัญในปีนี้เป็นของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 มีข้อความว่า ฉลาดคิด จิตบริสุทธิ์ จุดประกายฝัน ผูกพันรักสามัคคี

นอกจากคำขวัญของนายกรัฐมนตรีแล้ว กรมประชาสัมพันธ์ ได้จัดทำเพลงเด็กเอ๋ยเด็กดี ขึ้นมาเป็นเพลงที่มีเนื้อหาเตือนใจเด็กและเยาวชนเพื่อให้ระลึกถึงสิ่งที่ตน ควรทำ ประพันธ์เนื้อร้องโดยนางชอุ่ม ปัญจพรรค์ และทำนองโดย ครูเอื้อ สุนทรสนาน เพลงนี้จะเปิดในวันเด็กแห่งชาติอยู่เสมอ

เนื้อเพลงได้แจกแจงหน้าที่ของเด็กดีว่าต้องมีหน้าที่ 10 ประการด้วยกันคือ นับถือศาสนา รักษาธรรมเนียมมั่น เชื่อฟังพ่อแม่ครูอาจารย์ มีวาจาสุภาพอ่อนหวาน มีความกตัญญู รู้รักการงาน ศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญ มีความขยันมานะอดทนไม่เกียจคร้าน รู้จักออมและประหยัด มีความซื่อสัตย์ มีน้ำใจนักกีฬาและทำตนให้เป็นประโยชน์ รู้บาปบุญคุณโทษและรู้จักรักษาสมบัติของชาติ 

วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554

Asean

 ประวัติความเป็นมา


██ ประเทศสมาชิกอาเซียน
    ██ 
ผู้สังเกตการณ์อาเซียน
    ██ 
ประเทศที่ขอสมัครเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน
    █ 
อาเซียนบวกสาม
    █ 
การประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออก
    █ 
การประชุมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum)

สมาคมอาสาและปฏิญญากรุงเทพ

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจุดเริ่มต้นนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม .. 2504 โดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ได้ร่วมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (ASA, Association of South East Asia) ขึ้นเพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย จนเมื่อทั้งสองฟื้นฟูสัมพันธภาพระหว่างกัน จึงได้มีการแสวงหาลู่ทางจัดตั้งองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค "สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" และถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญากรุงเทพ" ที่พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม .. 2510 ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อาดัม มาลิกแห่งอินโดนีเซีย, นาร์ซิโซ รามอสแห่งฟิลิปปินส์, อับดุล ราซัคแห่งมาเลเซีย, เอส. ราชารัตนัมแห่งสิงคโปร์ และถนัด คอมันตร์แห่งไทย ซึ่งถูกพิจารณาว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งองค์กร
ความประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มอาเซียนขึ้นมาเกิดจากความต้องการสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อที่ผู้ปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุ่งความสนใจไปที่การสร้างประเทศ ความกังวลต่อการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ร่วมกัน ความศรัทธาหรือความเชื่อถือต่อมหาอำนาจภายนอกที่เสื่อมถอยลงในช่วงพุทธทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุ่มอาเซียนมีวัตถุประสงค์แตกต่างจากสหภาพยุโรป เพราะกลุ่มอาเซียนถูกสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนความเป็นชาตินิยม

วัตถุประสงค์

จากสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการสรุปแนวทางของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้จำนวนหกข้อ ดังนี้
  1. ให้ความเคารพแก่เอกราช อำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ของชาติสมาชิกทั้งหมด
  2. รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุกรานดินแดนและการบังคับขู่เข็ญ
  3. จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐสมาชิกอื่น ๆ
  4. ยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน หรือแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ
  5. ประณามหรือไม่ยอมรับการคุกคามหรือการใช้กำลัง
  6. ให้ความร่วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ




ประเทศสมาชิกอาเซียน

1. บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

ธงชาติ 
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลวา ดินแดนแหงความสงบสุข)
ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอรเนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเสนศูนยสูตร)
แบงเปนสี่เขต คือ เขต Brunei-Muara เขต Belait เขต Temburong และเขต Tutong
พื้นที่: 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่รอยละ 70 เปนปาไมเขตรอน
เมืองหลวง : บันดารเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)
ประชากร : 370,00 คน (2548) ประกอบดวย มาเลย (66%) จีน (11%)ประชากร : 370,00 คน (2548) ประกอบดวย มาเลย (66%) จีน (11%) และอื่น ๆ (23%)
มีอัตราการเพิ่มของประชากรปละ 2 %
ภูมิอากาศ : อากาศโดยทั่วไปคอนขางรอนชื้น มีปริมาณฝนตกคอนขางมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษามาเลย (Malay หรือ Bahasa Melayu) เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษและภาษาจีน
ศาสนา : ศาสนาประจําชาติคือ ศาสนาอิสลาม (67%)
ศาสนาอื่น ๆ ไดแกศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต (10%) และฮินดู
สกุลเงิน : ดอลลารบรูไน (Brunei Dollar : BND)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 22.9 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน (ขาย) 23.5 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน
(มกราคม 2552)(คาเงินบรูไนมีความมั่นคงและใชอัตราแลกเปลี่ยนเดียวกับเงินสิงคโปร และสามารถใชเงิน
สิงคโปรในบรูไนไดทั่วไป)
ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญีฮัสซานัลโบลเกียหมูอิซซัดดิน
วัดเดาละห (His Majesty Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah) ทรง
เปนองคพระประมุขของประเทศตั้งแตวันที่ 5 ตุลาคม 2510
* รัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 1 มกราคม 2527 กําหนดใหสมเด็จพระราชาธิบดีทรงเปนอธิปตย
คือ เปนทั้งประมุขและนายกรัฐมนตรี
* สมเด็จพระราชาธิบดีองคปจจุบันยังทรงดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังดวย
* ทั้งนี้นายกรัฐมนตรีจะตองเปนชาวบรูไนฯ เชื้อสายมาเลยโดยกําเนิด และจะตองนับถือ
ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่
2. กัมพูชา (Cambodia)

        ธงชาติ 
ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ที่ตั้ง : กัมพูชาตั้งอยูกลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย (จังหวัด
อุบลราชธานีศรีสะเกษ สุรินทรและบุรีรัมย) และลาว (แขวง อัตตะปอและจําปาสัก) ทิศตะวันออกติด
2เวียดนาม (จังหวัดกอนทูม เปลกูซาลาย ดั๊กลั๊ก สองแบเตยนิน ลองอาน ดงทาบ อันซาง และเกียงซาง)
ทิศตะวันตกติดประเทศไทย (จังหวัดสระแกว จันทบุรีและตราด) และทิศใตติดอาวไทย
พื้นที่: ขนาดกวาง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือมีขนาด
ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เสนเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมี
เสนเขตแดนติดตอกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)
ประชากร : 14.1 ลานคน (ป 2548) ประกอบดวย ชาวเขมรรอยละ 94 ชาวจีนรอยละ 4 และอื่น ๆ อีกรอยละ 2
มีอัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยรอยละ 2 ตอป
ภูมิอากาศ : รอนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาเขมรเปนภาษาราชการ สวนภาษาที่ใชโดยทั่วไป ไดแกอังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย
ศาสนา : ศาสนาประจําชาติคือ ศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเปน 2 นิกายยอย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย)
และศาสนาอื่นๆ อาทิศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต
สกุลเงิน : เงินเรียล (Riel : KHR)
อัตราแลกเปลี่ยน 4,000 เรียลเทากับ 1 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 100 เรียล เทากับ 1 บาท
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ
* พระมหากษัตริยคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี (His Majesty Preah
Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni) เสด็จขึ้นครองราชยเมื่อ
วันที่ 14 ตุลาคม 2547
* นายกรัฐมนตรีคือ สมเด็จฮุน เซน (Samdech Hun Sen)
3. อินโดนีเซีย (Indonesia)
 ธงชาติอินโดนีเซีย    
      ธงชาติ 
3ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ที่ตั้ง : อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยตั้งอยูบนเสนทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับ
มหาสมุทรอินเดีย และเปนสะพานเชื่อมระหวางทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทําใหอินโดนีเซียสามารถ
ควบคุมเสนทางการติดตอระหวางมหาสมุทรทั้งสอง ผานชองแคบที่สําคัญตางๆ เชน ชองแคบมะละกา
ชองแคบซุนดา และชองแคบล็อมบอก ซึ่งเปนเสนทางขนสงน้ํามันจากตะวันออกกลางมายังประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียตะวันออก
พื้นที่: 1,890,754 ตารางกิโลเมตร เปนประเทศหมูเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ประกอบดวยเกาะใหญนอย
กวา 17,508 เกาะ รวมอยูในพื้นที่ 4 สวน คือ
- หมูเกาะซุนดาใหญประกอบดวย เกาะชวา สุมาตรา บอรเนียว และสุลาเวสี
- หมูเกาะซุนดานอย ประกอบดวยเกาะเล็ก ๆ ที่ตั้งอยูทางตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะบาหลีลอมบอก
ซุมบาวา ซุมบา ฟอลเรส และติมอร
- หมูเกาะมาลุกุหรือ หมูเกาะเครื่องเทศ ตั้งอยูระหวางสุลาเวสีกับอิเรียนจายาบนเกาะ นิวกีนี
- อีเรียนจายา อยูทางทิศตะวันตกของปาปวนิวกินี
เมืองหลวง : จาการตา (Jakarta)
ประชากร : ประมาณ 220 ลานคน ประกอบดวย ชนพื้นเมืองหลากหลายกลุม ซึ่งพูดภาษาตางกันกวา 583 ภาษา
รอยละ 61 อาศัยอยูบนเกาะชวา
ภูมิอากาศ : มีอากาศรอนชื้นแบบศูนยสูตร ประกอบดวย 2 ฤดูคือ ฤดูแลง (พฤษภาคม-ตุลาคม) และ
ฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน)
ภาษา : ภาษาราชการและภาษาประจําชาติไดแกภาษาอินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia
ศาสนา : ชาวอินโดนีเซียรอยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม รอยละ 6 นับถือศาสนาคริสตนิกายโปรแตสแตนท
รอยละ 3.5 นับถือศาสนาคริสตนิกายแคทอลิก รอยละ 1.8 นับถือศาสนาฮินดู และรอยละ 1.3 นับถือ
ศาสนาพุทธ
4สกุลเงิน : รู  เปยห (Rupiah : IDR)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 2.87 บาท / 1,000 รู  เปยห (ขาย) 3.32 บาท / 1,000 รู  เปยห (มกราคม 2552)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตย ที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข และหัวหนาฝายบริหาร
* ประธานาธิบดีคือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono)
(ตุลาคม 2547)
4. ลาว (Laos)
        ธงชาติ

ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic)
ที่ตั้ง : เปนประเทศที่ไมมีทางออกสูทะเล มีพรมแดนติดจีนและพมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดตอกับ
เวียดนามทางทิศตะวันออก ติดตอกับกัมพูชาทางทิศใต และติดตอกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
พื้นที่: 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย)
แบงเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน)
เมืองหลวง : นครเวียงจันทน (Vientiane) (เปนเขตเมืองหลวงเหมือน กทม. สวนแขวงเวียงจันทนเปนอีกแขวง
หนึ่งที่อยูติดกับนครหลวงเวียงจันทน)
5ประชากร : 5.6 ลานคน (ป 2548) ประกอบดวย ลาวลุมรอยละ 68 ลาวเทิงรอยละ 22 ลาวสูงรอยละ 9
รวมประมาณ 68 ชนเผา
ภูมิอากาศ : อุณหภูมิเฉลี่ย 29-33 องศา ต่ําสุด 10 องศา ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 1,715 มม.ตอป ความชื้น 70-80 %
ภาษา : ภาษาลาวเปนภาษาราชการ
ศาสนา : รอยละ 75 นับถือศาสนาพุทธ รอยละ 16-17 นับถือผี ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต (ประมาณ 100,000
คน) และอิสลาม (ประมาณ 300 คน)
สกุลเงิน : กีบ (Kip)
อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท : 276 กีบ (พฤษภาคม 2551)
ระบอบการปกครอง : ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต (ทางการลาวใชคําวา ระบอบ
ประชาธิปไตยประชาชน) โดยพรรคการเมืองเดียวเปนองคกรชี้นําประเทศ คือ
พรรคประชาชนปฏิวัติลาว มีอํานาจสูงสุดตั้งแตลาวเริ่มปกครองในระบอบสังคมนิยม
เมื่อ 2 ธันวาคม พ.. 2518
* ประมุข-ประธานประเทศ (ในภาษาลาว หมายถึง ตําแหนงประธานาธิบดี) คือ
พลโท จูมมะลีไชยะสอน (8 มิถุนายน พ.. 2549)
* หัวหนารัฐบาล-นายกรัฐมนตรีคือ นายบัวสอน บุบผาวัน (8 มิถุนายน พ.. 2549)
5. มาเลเซีย (Malaysia)

       ธงชาติ 
67
ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia)
ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น
- สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศ
ใตติดกับสิงคโปร ประกอบดวย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอรเนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร เประ กลัน
ตัน ตรังกานูปนัง เกดะหและปะลิส
- สวนที่สอง คือ มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยูทางเหนือของเกาะบอรเนียว (กาลิมันตัน) มีพรมแดนทิศใตติด
อินโดนีเซีย และมีพรมแดนลอมรอบประเทศบรูไน ประกอบดวย 2 รัฐ คือ ซาบาหและซาราวัก
- นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใตสหพันธรัฐอีก 3 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร (เมืองหลวง)
เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
พื้นที่: 330,257 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur)
ประชากร : 26.24 ลานคน (ป 2549) ประกอบดวย ชาวมาเลยกวา 40% ที่เหลืออีกกวา 33% เปนชาวจีน
อีก 10% เปนชาวอินเดีย อีก 10% เปนชนพื้นเมืองบนเกาะบอรเนียว อีก 5% เปนชาวไทย
และอื่นๆอีก 2%
ภูมิอากาศ : รอนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ภาษา : มาเลย (Bahasa Malaysia เปนภาษาราชการ) อังกฤษ จีน ทมิฬ
ศาสนา : อิสลาม (ศาสนาประจําชาติรอยละ 60.4) พุทธ (รอยละ 19.2) คริสต (รอยละ 11.6) ฮินดู (รอยละ 6.3)
อื่น ๆ (รอยละ 2.5)
สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit : MYR)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 9.25 บาท/ 1 ริงกิต (ขาย) 10 บาท/1 ริงกิต (มกราคม 2552)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy)
* ประมุข คือ สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตาน มีซาน ไซนัล อาบิดีน (พระนามเต็ม: อัล วาติกูร
บิลลาหตวนกูมิซาน ไซนัล อาบิดีน อิบนีอัลมารฮุม สุลตาน มาหมัด อัล มัคตาฟบิลลาห
ชาหภาษาอังกฤษ : DYMM Al-Wathiqu Billah Tuanku Mizan Zainal Abidin Ibni AlMarhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah) จากรัฐตรังกานู ทรงเปนสมเด็จ
พระราชาธิบดีองคที่ 13 ของมาเลเซีย (ตั้งแตวันที่ 13 ธันวาคม 2549)
* นายกรัฐมนตรีคือ ดาโตะ ซรีอับดุลลาหบิน ฮาจิอาหมัด บาดาวี (Dato' Seri Abdullah
bin Haji Ahmad Badawi                                                
6. พมา (Myanmar)

       ธงชาติ
ชื่อทางการ : สหภาพพมา (Union of Myanmar)
ที่ตั้ง : ตั้งอยูที่ละติจูดที่ 28 องศา 30 ลิปดา ถึง 10 องศา 20 ลิปดาเหนือ ภูมิประเทศตั้งอยูตามแนวอาวเบงกอล
และทะเลอันดามันทําใหมีชายฝงทะเลยาวถึง 2,000 ไมล
- ทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทิเบตและจีน
- ทางตะวันออกติดกับลาว
- ทางตะวันออกเฉียงใตติดกับไทย
- ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับบังคลาเทศและอินเดีย
- ทางตะวันตกเฉียงใตและทางใตติดกับทะเลอันดามันและอาวเบงกอล
พื้นที่: 676,577 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เทาของไทย)
เมืองหลวง : เนปดอ (Naypyidaw) (ภาษาพมา) หรือบางครั้งสะกดเปน เนปตอ (Nay Pyi Taw) (มีความหมายวา
มหาราชธานี) เปนเมืองหลวงและเมืองศูนยกลางการบริหารของสหภาพพมาที่ไดยายมาจากยางกุง
89
ตั้งแตวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.. 2548 ตั้งอยูในหมูบานจัตปแว (Kyatpyae) ทางทิศตะวันตกของตัว
เมืองเปยนมานา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย สภาพภูมิประเทศเปนภูเขาโดยรอบ เมืองนี้เปน
เมืองเดียวของประเทศพมาที่สามารถใชไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งในขณะที่เมืองหลวงเกายาง
กุงจะไฟฟาดับอยางนอย 6 ชั่วโมง เมืองนี้อยูหางยางกุงไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร ไมมี
สัญญาณโทรศัพทซึ่งทางการพมานั้นตองการ เมืองนี้เริ่มมีการสรางสิ่งตาง ๆ บางแลว เชน
อพารตเมนท ซึ่งคนพอมีเงินที่จะมาซื้ออยูอาศัย เริ่มมีประชาชนอพยพมาอาศัยอยูหลายหมื่นคน
แตเมืองหลวงแหงนี้ยังไมมีโรงเรียน โรงพยาบาล เปรียบเสมือนเมืองทหาร ซึ่งกําลังกอสรางตอไป
ประชากร : ประมาณ 56 ลานคน (..2548) มีเผาพันธุ 135 เผาพันธุประกอบดวย เชื้อชาติหลัก ๆ 8 กลุม คือ
พมา (รอยละ 68) ไทยใหญ (รอยละ 8) กะเหรี่ยง (รอยละ 7) ยะไข (รอยละ 4) จีน (รอยละ 3)
มอญ (รอยละ 2) อินเดีย (รอยละ 2)
ภูมิอากาศ : สภาพภูมิอากาศสวนใหญในบริเวณที่เปนเทือกเขาสูงทางตอนกลางและตอนเหนือของประเทศจะมี
อากาศแหงและรอนมากในฤดูรอน สวนในฤดูหนาวอากาศจะเย็นมาก ตามชายฝงทะเลและบริเวณ
ที่ราบลุมแมน้ําจะแปรปรวนในชวงเปลี่ยนฤดูเพราะไดรับอิทธิพลของพายุดีเปรสช่ันเสมอ ทําให
บริเวณนี้มีฝนตกชุกหนาแนนมากกวาตอนกลางหรือตอนบนของประเทศที่เปนเขตเงาฝน
ขอแนะนําสําหรับนักทองเที่ยว คือ ควรเดินทางในชวงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธเพราะฝนไม
ตก และอากาศไมรอนจนเกินไปนัก
ภาษา : ภาษาพมาเปนภาษาราชการ
ศาสนา : ศาสนาพุทธ (พมาบัญญัติใหศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติใน พ.. 2517) รอยละ 90 ศาสนาคริสต
รอยละ 5 ศาสนาอิสลามรอยละ 3.8 ศาสนาฮินดูรอยละ 0.05
สกุลเงิน : จาด (Kyat : MMK)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 25 จาดตอ 1 บาท หรือประมาณ 1,300 จาดตอ 1 ดอลลารสหรัฐ (มิถุนายน 2549)
ระบอบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใตสภาสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ
(State Peace and Development Council – SPDC)
* ประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ (ประมุขประเทศ) คือ
พลเอกอาวุโส ตาน ฉวย (Senior General Than Shwe) (เมษายน 2535)
* นายกรัฐมนตรี (หัวหนารัฐบาล) คือ พล..เทียน เสง (Gen. Thein Sein)
นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 ของพมา (.. 2550)                                  
7. ฟลิปปนส (Philippines)
       ธงชาติ 
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟลิปปนส (Republic of the Philippines)
ที่ตั้ง : เปนประเทศหมูเกาะที่ประกอบดวยเกาะจํานวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยูในมหาสมุทรแปซิฟก หางจาก
เอเชียแผนดินใหญทางตะวันออกเฉียงใต ประมาณ 100 กม. และมีลักษณะพิเศษ คือ เปนประเทศเพียง
หนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดตอระหวางกันยาวมากที่สุดในโลก
- ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับทะเลจีนใต
- ทิศตะวันออกและทิศใตติดกับมหาสมุทรแปซิฟก
- อยูหางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1,800 กิโลเมตร
พื้นที่: 298,170 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)
ประชากร : 88.7 ลานคน (..2550)
10ภูมิอากาศ : มรสุมเขตรอน ไดรับความชุมชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูไดรับฝนจากลมพายุไตฝุน และดีเปรสชั่น
บริเวณที่ฝนตกมากที่สุด คือ เมืองบาเกียว เปนเมืองที่ฝนตกมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ภาษา : มีการใชภาษามากกวา 170 ภาษา โดยสวนมากเกือบทั้งหมดนั้นเปนตระกูลภาษายอยมาลาโย-โปลินี
เซียนตะวันตก แตในปพ.. 2530 รัฐธรรมนูญไดระบุใหภาษาฟลิปโน (Filipino) และภาษาอังกฤษเปน
ภาษาราชการ สวนภาษาตางประเทศอื่น ๆ ที่ใชกันมากในประเทศฟลิปปนสมีทั้งหมด 8 ภาษา ไดแก
ภาษาสเปน ภาษาจีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแตจิ๋ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินดภาษาปญจาบ ภาษาเกาหลี
และภาษาอาหรับ โดยฟลิปปนสนั้น มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก
ศาสนา : รอยละ 92 ของชาวฟลิปปนสทั้งหมดนับถือศาสนาคริสตโดยรอยละ 83 นับถือนิกายโรมันคาทอลิก
และรอยละ 9 เปนนิกายโปรเตสแตนต มุสลิมรอยละ 5 พุทธและอื่น ๆ รอยละ 3
สกุลเงิน : เปโซ (Peso : PHP)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 0.72 บาท/ 1 เปโซ (ขาย) 0.75 บาท/ 1 เปโซ (มกราคม 2552)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร (วาระ ๖ ป)
* ประธานาธิบดีคนปจจุบัน คือ นางกลอเรีย มาคาปากัล อารโรโย (Gloria Macapagal
Arroyo) ซึ่งไดรับการรับรองใหเปนผูชนะการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2547
8. สิงคโปร (Singapore)
       ธงชาติ 
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร (Republic of Singapore)
11ที่ตั้ง : เปนนครรัฐ ที่ตั้งอยูบนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่ละติจูด 1°17'35" เหนือ ลองจิจูด 103°51'20"
ตะวันออก ตั้งอยูทางใตสุดของคาบสมุทรมาเลย อยูทางใตของรัฐยะโฮรของประเทศมาเลเซีย และอยู
ทางเหนือของเกาะรีเยาของประเทศอินโดนีเซีย
พื้นที่: ประกอบดวยเกาะสิงคโปรและเกาะใหญนอยบริเวณใกลเคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 697 ตาราง
กิโลเมตร (ประมาณเกาะภูเก็ต) เกาะสิงคโปรเปนเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดมีความยาวจากทิศตะวันตก
ไปตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร และความกวางจากทิศเหนือไปยังทิศใตประมาณ 23 กิโลเมตร
เมืองหลวง : สิงคโปร
ประชากร : 4.35 ลานคน (..2548) ประกอบดวยชาวจีน 76.5% ชาวมาเลย 13.8% ชาวอินเดีย 8.1%
และอื่น ๆ 1.6%
ภูมิอากาศ : รอนชื้น มีฝนตกตลอดปอุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย (ภาษาประจําชาติ) จีนกลาง (แมนดาริน) ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร
สงเสริมใหประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ใชในการติดตอ
งานและในชีวิตประจําวัน
ศาสนา : พุทธ 42.5% อิสลาม 14.9% คริสต 14.5% ฮินดู 4% ไมนับถือศาสนา 25%
สกุลเงิน : ดอลลารสิงคโปร (Singapore Dollar : SGD)
อัตราแลกเปลี่ยน (ซื้อ) 23 บาท/ 1 ดอลลารสิงคโปร (ขาย) 23.5 บาท/ 1 ดอลลารสิงคโปร (มกราคม 2552)
ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข และ
นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาฝายบริหาร
* ประธานาธิบดีคือ นายเอส อารนาธาน (S R Nathan) (ดํารงตําแหนงสองสมัยตั้งแต
1 กันยายน 2542)
* นายกรัฐมนตรีคือ นายลีเซียน ลุง (Lee Hsien Loong) (12 สิงหาคม 2547)
9. ประเทศไทย (Thailand)
        ธงชาติ 
12ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดประเทศลาว
และประเทศกัมพูชา ทิศใตติดอาวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศ
พมา และทิศเหนือติดกับประเทศพมาและประเทศลาว โดยมีแมน้ําโขงกั้นเปนบางชวง
พื้นที่: 513,115.02 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
ประชากร : 64.7 ลานคน (2551)
ภูมิอากาศ : เปนแบบเขตรอน อากาศรอนที่สุดในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมเปนฤดูรอน โดยจะมีฝนตกและเมฆ
มากจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตในชวงกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเปนฤดูฝน สวนใน
เดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม อากาศแหงและหนาวเย็นจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
เปนฤดูหนาว ยกเวนภาคใตที่มีอากาศรอนชื้นตลอดทั้งปจึงมีแคสองฤดูคือฤดูรอนกับฤดูฝน
ภาษา : ภาษาไทยเปนภาษาราชการ
ศาสนา : ประมาณรอยละ 95 ของประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งเปนศาสนาประจําชาติโดย
พฤตินัย แมวายังจะไมมีการบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยก็ตาม ศาสนาอิสลาม
ประมาณรอยละ 4 ซึ่งสวนใหญเปนชาวไทยทางภาคใตตอนลาง ศาสนาคริสตและศาสนาอื่นประมาณ
รอยละ 1
สกุลเงิน : บาท (Baht : THB)
13ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
* พระมหากษัตริยคือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช
บรมนาถบพิตร (His Majesty King Bhumibol Adulyadej)
* นายกรัฐมนตรีคือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (Mr.Abhisit Vejjajiva) (17 ธันวาคม พ..2551)
10. เวียดนาม (Vietnam)

       ธงชาติ 
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
ที่ตั้ง : เปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และ
ประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอาวตังเกี๋ย ทะเลจีนใตทางทิศตะวันออก
พื้นที่: 331,689 ตารางกิโลเมตร (0.645 เทาของประเทศไทย)
1415
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi)
ประชากร : ประมาณ 86.1 ลานคน (กรกฎาคม 2551) เปน เวียด 80% เขมร 10 %(บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ํา
โขงทางตอนใตของประเทศ) ตาย 1.9% ไท 1.74% เหมื่อง 1.49% ฮั้ว(จีน) 1.13% นุง 1.12% มง 1.03%
ภูมิอากาศ : เปนแบบมรสุมเขตรอน ชายฝงทะเลดานตะวันออกเปดโลงรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัด
ผานทะเลจีนใตทําใหมีโอกาสรับลมมรสุมและพายุหมุนเขตรอน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว สามารถ
ปลูกขาวไดปละ 2 ครั้ง (ฝนตกตลอดปไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ) เปน
ประเทศที่มีความชื้นประมาณ 84 % ตลอดปมีปริมาณฝน จาก 120 ถึง 300 เซนติเมคร(47 ถึง 118
นิ้ว) และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต 5°C (41°F) ถึง 37°C (99°F)
ภาษา : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) เปนภาษาราชการ ซึ่งเมื่อปพ.. 2463 วงการวิชาการเวียดนามไดลง
ประชามติที่จะใชตัวอักษรโรมัน (quoc ngu) แทนตัวอักษรจีน (Chu Nom) ในการเขียนภาษาเวียดนาม
ศาสนา : สวนใหญชาวเวียดนามนับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายานสูงถึงรอยละ 70 ของจํานวนประชากร
รอยละ 15 นับถือศาสนาคริสตที่เหลือนับถือลัทธิขงจื้อ มุสลิม
สกุลเงิน : ดอง (Dong : VND)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 461 ดอง/ 1 บาท (มกราคม 2550)
ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสตเปนพรรคการเมืองเดียว
* ประมุข-ประธานาธิบดีคือ นายเหงียน มินหเจี๊ยต (Nguyen Minh Triet) (27 มิถุนายน 2549)
* หัวหนารัฐบาล-นายกรัฐมนตรีคือ นายเหงียน ถัน ดุง (Nguyen Tan Dung)
* เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตคือ นายหนง ดึ๊ก หมั่น (Nong Duc Manh)